กระดานปักขคณนา
ใน พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4

สุริยคติ : วันที่ พ.ศ. ( ค.ศ.; จ.ศ. )      
จันทรคติ :


วันพระ

ธรรมยุติฯ
                     หรคุณปักขคณนา    ปักขเกณฑ์
รอบที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18
ปักขคณนา มหา
สัมพยุหะ
มหา
สัมพยุหะ
มหา
สัมพยุหะ
มหา
สัมพยุหะ
มหา
สัมพยุหะ
มหา
สัมพยุหะ
มหา
สัมพยุหะ
มหา
สัมพยุหะ
มหา
สัมพยุหะ
มหา
สัมพยุหะ
มหา
สัมพยุหะ
มหา
สัมพยุหะ
มหา
สัมพยุหะ
มหา
สัมพยุหะ
มหา
สัมพยุหะ
มหา
สัมพยุหะ
มหา
สัมพยุหะ
จุล
สัมพยุหะ
มหาสัมพยุหะ จุล
พยุหะ
จุล
พยุหะ
จุล
พยุหะ
จุล
พยุหะ
จุล
พยุหะ
จุล
พยุหะ
จุล
พยุหะ
จุล
พยุหะ
จุล
พยุหะ
จุล
พยุหะ
มหา
พยุหะ
             
จุลสัมพยุหะ จุล
พยุหะ
จุล
พยุหะ
จุล
พยุหะ
จุล
พยุหะ
จุล
พยุหะ
จุล
พยุหะ
จุล
พยุหะ
จุล
พยุหะ
จุล
พยุหะ
มหา
พยุหะ
               
มหาพยุหะ มหา
สมุหะ
มหา
สมุหะ
มหา
สมุหะ
มหา
สมุหะ
มหา
สมุหะ
มหา
สมุหะ
จุล
สมุหะ
                     
จุลสัมพยุหะ มหา
สมุหะ
มหา
สมุหะ
มหา
สมุหะ
มหา
สมุหะ
มหา
สมุหะ
จุล
สมุหะ
                       
มหาสมุหะ จุล
วรรค
จุล
วรรค
จุล
วรรค
มหา
วรรค
                           
จุลสมุหะ จุล
วรรค
จุล
วรรค
มหา
วรรค
                             
มหาวรรค มหา
ปักข์
มหา
ปักข์
มหา
ปักข์
มหา
ปักข์
จุล
ปักข์
                         
จุลวรรค มหา
ปักข์
มหา
ปักข์
มหา
ปักข์
จุล
ปักข์
                           
วันทางจันทรคติ    1       2       3       4       5       6       7       8       9       10       11       12       13       14       15         
Special CopyRight for
www.ปฏิทินปักขคณนา.com
@14 สิงหาคม พ.ศ.2554

โดย พระภิกษุไพศาล ปัญญาวุฑโฒ
phaisarn_pt@hotmail.com
1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548


หมายเหตุ
- คลิ้กที่กระดานปักขคณนา เพื่อเปลี่ยนตำแหน่งการวางหมาก ในปักขคณนาที่ต้องการ

- เลือกวัน-เดือน-ปี ที่ต้องการแล้วกดปุ่ม OK เพื่อหาตำแหน่งหมากในกระดานปักขคณนา

- พุทธศักราช ในที่นี้ ให้ถือเปลี่ยนตามปฏิทินสุริยคติ โดยเทียบจาก พุทธศักราช = คริสตศักราช + 543
และ จุลศักราช ในที่นี้ ให้ถือเปลี่ยนตามปฏิทินสุริยคติ โดยเทียบจาก จุลศักราช = พุทธศักราช - 1181

- สมการทั่วไปแห่งปักขคณนา โดยย่นย่อสามารถสรุปเหลือเพียง 4 สมการดังนี้
        1. หรคุณปักขคณนา = (P-1) x 289577 + (A-1) x 16168 + (B-1) x 1447 + (C-1) x 251 + (D-1) x 59 + (E-1) x 15 + F
                โดย หรคุณปักขคณนา คือ จำนวนวันทั้งหมดที่เริ่มนับตั้งแต่วันที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2279 (พ.ศ.เทียบจากค.ศ.) ถึงวันที่ต้องการ
                และ        P คือ ปักขคณนารอบที่ (อัฏฐารศก)
                              A คือ สัมพยุหะที่
                              B คือ พยุหะที่
                              C คือ สมุหะที่
                              D คือ วรรคที่
                              E คือ ปักข์ที่
                              F คือ วันทางจันทรคติ
                       P, A, B, C, D, E, F เป็นสมาชิกของจำนวนเต็มบวก
                       สมการข้างต้น เมื่อทำการแก้สมการทางคณิตศาสตร์ เราจะทราบค่า ตำแหน่งสัมพยุหะ, พยุหะ, สมุหะ, วรรค, ปักข์ และ วันทางจันทรคติ ออกมาได้
        2. ปักขเกณฑ์ = (P-1) x 19612 + (A-1) x 1095 + (B-1) x 98 + (C-1) x 17 + (D-1) x 4 + E
                โดย ปักขเกณฑ์ คือ จำนวนปักข์ทั้งหมดที่เริ่มนับตั้งแต่วันที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2279 (พ.ศ.เทียบจากค.ศ.) ถึงวันที่ต้องการ
        3. ข้างขึ้นข้างแรม = เศษจากการหาร ปักขเกณฑ์ ด้วย 2
                โดย 0 คือ ข้างขึ้น, 1 คือ ข้างแรม
        4. JD = 2355147 + หรคุณปักขคณนา
                โดย JD คือ Julian Day Number หรือ จ.น.วันทั้งหมดที่เริ่มนับตั้งแต่ 1 มกราคม 4713 ก่อนคริสตกาล ถึงวันที่ต้องการ

    *** หรคุณปักขคณนา และ ปักขเกณฑ์ เป็นชื่อที่ข้าพเจ้าได้กำหนดนิยามขึ้นมาใหม่ ไม่มีปรากฏในตำราเดิม
    ทั้งนี้เพื่อสะดวกต่อการคำนวณที่ลัดสั้น โดยมาจากความสัมพันธ์ที่ปรากฏภายในกระดานปักขคณนา ที่ร. 4 ได้ทรงกำหนดวางไว้แล้วข้างต้น ***

- กระดานปักขคณนา นี้ได้ผ่านการตรวจสอบจาก หนังสือ "ความรู้เรื่องปักขคณนาวิธี" ของทาง มหามกุฏราชวิทยาลัย
และ ผ่านการตรวจสอบ จาก "ปักษ์คณนาสำเร็จ" ที่คัดจากต้นฉบับของ พระเจ้าบรมวงษเธอ กรมสมเด็จพระปวเรศวริยาลงกรณ์
มีความถูกต้องสอดคล้องตรงกันทุกประการ

- หากต้องการดู ภาพหน้าตาของกระดานปักขคณนา เป็นอย่างไร ให้ชี้เมาส์ไปที่คำว่า กระดานปักขคณนา แล้วรอสักครู่ จะมีภาพปรากฏให้ชม

- ปฏิทินปักขคณนาที่ออกโดยมหามกุฏฯในปัจจุบัน ได้มีการปรับเปลี่ยนสลับบางปักษ์เกิดขึ้นเพื่อให้ตรงกับปฏิทินราชการ.จึงทำให้ไม่มีความถูกตรงตามกระดานปักขคณนา ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า ที่ทรงเป็นผู้คิดค้นแต่เดิม